
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต Bachelor of Business Administration
หลักการและเหตุผล
สร้างและผลิตบัณฑิตให้มีความรู้รอบด้านการบริหารธุรกิจ ให้รู้ลึก รู้จริง นำไปพัฒนากระบวนการทางความคิดอย่างสร้างสรรค์ สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบ ต่อการบริหารธุรกิจและ มีคุณธรรมจริยธรรมรับผิดชอบต่อสังคมโอกาสในการประกอบอาชีพ
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า หรือ
2. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา/ สาขาวิชาอื่น จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ให้การรับรอง หรือ
3. สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาบริหารธุรกิจหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันที่กระทรวงศึกษาธิการ และ ก.พ. ให้การรับรอง
โอกาสในการประกอบอาชีพ
นักศึกษาที่จบการศึกษาสามารถทำงานในด้านบริหารธุรกิจ และธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการให้บริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยผู้จบการศึกษาสามารถเลือกประกอบอาชีพตามหน้าที่ต่าง ๆ ได้แก่ เจ้าหน้าที่สายปฏิบัติงานด้านการตลาด การบริหารจัดการองค์กรในธุรกิจการให้บริการ เช่น โรงแรม บริษัททัวร์ พนักงานขายและแนะนำสินค้า เจ้าหน้าที่สายทรัพยากรบุคคล
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Business Administration
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : บริหารธุรกิจบัณฑิต
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : บธ.บ.
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Business Administration
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.B.A.
รายละเอียดวิชา
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
1.1 กลุ่มวิชามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 10 หน่วยกิต
1.2 กลุ่มวิชาภาษา จำนวน 12 หน่วยกิต
1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวน 6 หน่วยกิต
1.4 กลุ่มวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม จำนวน 2 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 99 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาเอกบังคับ จำนวน 54 หน่วยกิต
2.3 กลุ่มวิชาเอกเลือกหรือกลุ่มวิชาโท จำนวน 15 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต
รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต ประกอบด้วย
1.1 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จำนวน 10 หน่วยกิต
CIVI 100 อารยธรรมและประวัติศาสตร์ศิลป์ 2(2-0-4)
ECON 100 เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 2(2-0-4)
LAWS 100 กฎหมายทั่วไป 2(2-0-4)
SOCU 100 สังคมและวัฒนธรรม 2(2-0-4)
TAPS 100 การคิด การสื่อสารและการแก้ปัญหา 2(2-0-4)
1.2 กลุ่มวิชาภาษา จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
โดยเลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้
ENCO 101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5)
ENCO 102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
ENCO 201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)
ENCO 202 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 3(2-2-5)
THAC 101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 1 3(1-4-4)
THAC 102 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 2 3(1-4-4)
THAC 201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)
THAC 202 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 4 3(2-2-5)
ASEN 101 ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5)
ASEN 102 ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
1.3 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จำนวน 6 หน่วยกิต
MATH 100 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 2(2-0-4)
TECH 101 สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2(2-0-4)
SCIE 100 สิ่งแวดล้อมกับชีวิต 2(2-0-4)
1.4 กลุ่มวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม 2 หน่วยกิต
LEAC 100 การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม 1 1(0-3-2)
LEAC 200 การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม 2 1(0-3-2)
2.หมวดวิชาเฉพาะด้าน 99 หน่วยกิต
2.1 วิชาแกน 30 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาเอก 69 หน่วยกิต
2.2.1 กลุ่มวิชาเอกบังคับ จำนวน 54 หน่วยกิต
BUSI 111 การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ 3(3-0-6)
BUSI 112 พฤติกรรมผู้บริโภค 3(3-0-6)
BUSI 113 การจัดการระบบสารสนเทศในองค์กร 3(3-0-6)
BUSI 114 ฝึกปฏิบัติงาน 1 1(0-6-0)
BUSI 211 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6)
BUSI 212 การเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ 3(3-0-6)
BUSI 213 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ 3(3-0-6)
BUSI 214 การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพ 3(3-0-6)
BUSI 215 การบริหารการขายและศิลปะการขาย 3(3-0-6)
BUSI 216 การบริหารสื่อ 3(3-0-6)
BUSI 217 นวัตกรรมและการบริหารความเปลี่ยนแปลง 3(3-0-6)
BUSI 218 การวิจัยธุรกิจ 3(3-0-6)
BUSI 219 ฝึกปฏิบัติงาน 2 2(0-12-0)
BUSI 311 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 3(3-0-6)
BUSI 312 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0-6)
BUSI 313 การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
BUSI 314 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0-6)
BUSI 315 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ 3(3-0-6)
BUSI 316 ฝึกปฏิบัติงาน 3 3(0-18-0)
BUSI 411 การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 6(0-40-0)
2.2.2 กลุ่มวิชาเอกเลือก 15 หน่วยกิต
BUSI 321 การจัดการโลจิตติกส์และห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6)
BUSI 322 การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ 3(3-0-6)
BUSI 323 การตลาดสำหรับอุตสาหกรรมบริการ 3(3-0-6)
BUSI 324 หัวข้อพิเศษทางการตลาด 3(3-0-6)
BUSI 325 การบริหารโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ 3(3-0-6)
BUSI 326 การบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง 3(3-0-6)
BUSI 327 การบริหารตราสินค้าและการสื่อสารตราสินค้า 3(3-0-6)
BUSI 328 การตลาดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
BUSI 329 การจัดการการตลาดสำหรับอุตสาหกรรมไมซ์ 3(3-0-6)
BUSI 421 การจัดการธุรกิจส่งออกและนำเข้า 3(3-0-6)
BUSI 422 การจัดการธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน 3(3-0-6)
BUSI 423 การจัดการผลิตภัณฑ์และราคาในตลาดต่างประเทศ 3(3-0-6)
BUSI 424 การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายในตลาดต่างประเทศ 3(3-0-6)
BUSI 425 ธุรกิจที่พักแรม 3(3-0-6)
BUSI 426 การขนส่ง 3(3-0-6)
BUSI 427 การบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3(3-0-6)
BUSI 428 การจัดการธุรกิจนำเที่ยว 3(3-0-6)
BUSI 429 ธุรกิจการจัดการประชุม 3(3-0-6)
2.2.3 กลุ่มวิชาโท
- นักศึกษาสามารถเลือกเรียนกลุ่มวิชาโทการเงินการธนาคาร ของสาขาวิชาการบัญชี ที่เปิดสอนในลักษณะการจัดการสอนร่วมกับผู้ประกอบการ
- นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทของสาขาวิชาอื่นๆที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต ตามประกาศของมหาวิทยาลัย
- นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาที่เทียบเท่าจากสถานประกอบการหรือสถาบันอื่นเพื่อเทียบโอนรายวิชาในกลุ่มวิชาโท ตามความเห็นชอบของมหาวิทยาลัย
3.หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
สร้างและผลิตบัณฑิตให้มีความรู้รอบด้านการบริหารธุรกิจ ให้รู้ลึก รู้จริง นำไปพัฒนากระบวนการทางความคิดอย่างสร้างสรรค์ สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบ ต่อการบริหารธุรกิจและ มีคุณธรรมจริยธรรมรับผิดชอบต่อสังคมโอกาสในการประกอบอาชีพ
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า หรือ
2. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา/ สาขาวิชาอื่น จากสถาบันอุดมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ให้การรับรอง หรือ
3. สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาบริหารธุรกิจหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง จากสถาบันที่กระทรวงศึกษาธิการ และ ก.พ. ให้การรับรอง
โอกาสในการประกอบอาชีพ
นักศึกษาที่จบการศึกษาสามารถทำงานในด้านบริหารธุรกิจ และธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการให้บริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยผู้จบการศึกษาสามารถเลือกประกอบอาชีพตามหน้าที่ต่าง ๆ ได้แก่ เจ้าหน้าที่สายปฏิบัติงานด้านการตลาด การบริหารจัดการองค์กรในธุรกิจการให้บริการ เช่น โรงแรม บริษัททัวร์ พนักงานขายและแนะนำสินค้า เจ้าหน้าที่สายทรัพยากรบุคคล
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Business Administration
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : บริหารธุรกิจบัณฑิต
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : บธ.บ.
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Business Administration
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.B.A.
รายละเอียดวิชา
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
1.1 กลุ่มวิชามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ จำนวน 10 หน่วยกิต
1.2 กลุ่มวิชาภาษา จำนวน 12 หน่วยกิต
1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวน 6 หน่วยกิต
1.4 กลุ่มวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม จำนวน 2 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 99 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาแกน จำนวน 30 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาเอกบังคับ จำนวน 54 หน่วยกิต
2.3 กลุ่มวิชาเอกเลือกหรือกลุ่มวิชาโท จำนวน 15 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
รวมตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต
รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต ประกอบด้วย
1.1 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จำนวน 10 หน่วยกิต
CIVI 100 อารยธรรมและประวัติศาสตร์ศิลป์ 2(2-0-4)
ECON 100 เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 2(2-0-4)
LAWS 100 กฎหมายทั่วไป 2(2-0-4)
SOCU 100 สังคมและวัฒนธรรม 2(2-0-4)
TAPS 100 การคิด การสื่อสารและการแก้ปัญหา 2(2-0-4)
1.2 กลุ่มวิชาภาษา จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
โดยเลือกเรียนจากรายวิชาดังต่อไปนี้
ENCO 101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5)
ENCO 102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
ENCO 201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)
ENCO 202 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 3(2-2-5)
THAC 101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 1 3(1-4-4)
THAC 102 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 2 3(1-4-4)
THAC 201 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 3(2-2-5)
THAC 202 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 4 3(2-2-5)
ASEN 101 ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5)
ASEN 102 ภาษาอาเซียนเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
1.3 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จำนวน 6 หน่วยกิต
MATH 100 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 2(2-0-4)
TECH 101 สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2(2-0-4)
SCIE 100 สิ่งแวดล้อมกับชีวิต 2(2-0-4)
1.4 กลุ่มวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม 2 หน่วยกิต
LEAC 100 การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม 1 1(0-3-2)
LEAC 200 การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม 2 1(0-3-2)
2.หมวดวิชาเฉพาะด้าน 99 หน่วยกิต
2.1 วิชาแกน 30 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาเอก 69 หน่วยกิต
2.2.1 กลุ่มวิชาเอกบังคับ จำนวน 54 หน่วยกิต
BUSI 111 การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ 3(3-0-6)
BUSI 112 พฤติกรรมผู้บริโภค 3(3-0-6)
BUSI 113 การจัดการระบบสารสนเทศในองค์กร 3(3-0-6)
BUSI 114 ฝึกปฏิบัติงาน 1 1(0-6-0)
BUSI 211 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6)
BUSI 212 การเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ 3(3-0-6)
BUSI 213 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ 3(3-0-6)
BUSI 214 การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพ 3(3-0-6)
BUSI 215 การบริหารการขายและศิลปะการขาย 3(3-0-6)
BUSI 216 การบริหารสื่อ 3(3-0-6)
BUSI 217 นวัตกรรมและการบริหารความเปลี่ยนแปลง 3(3-0-6)
BUSI 218 การวิจัยธุรกิจ 3(3-0-6)
BUSI 219 ฝึกปฏิบัติงาน 2 2(0-12-0)
BUSI 311 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 3(3-0-6)
BUSI 312 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0-6)
BUSI 313 การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ 3(3-0-6)
BUSI 314 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0-6)
BUSI 315 สัมมนาทางการบริหารธุรกิจ 3(3-0-6)
BUSI 316 ฝึกปฏิบัติงาน 3 3(0-18-0)
BUSI 411 การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 6(0-40-0)
2.2.2 กลุ่มวิชาเอกเลือก 15 หน่วยกิต
BUSI 321 การจัดการโลจิตติกส์และห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6)
BUSI 322 การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ 3(3-0-6)
BUSI 323 การตลาดสำหรับอุตสาหกรรมบริการ 3(3-0-6)
BUSI 324 หัวข้อพิเศษทางการตลาด 3(3-0-6)
BUSI 325 การบริหารโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ 3(3-0-6)
BUSI 326 การบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง 3(3-0-6)
BUSI 327 การบริหารตราสินค้าและการสื่อสารตราสินค้า 3(3-0-6)
BUSI 328 การตลาดเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
BUSI 329 การจัดการการตลาดสำหรับอุตสาหกรรมไมซ์ 3(3-0-6)
BUSI 421 การจัดการธุรกิจส่งออกและนำเข้า 3(3-0-6)
BUSI 422 การจัดการธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน 3(3-0-6)
BUSI 423 การจัดการผลิตภัณฑ์และราคาในตลาดต่างประเทศ 3(3-0-6)
BUSI 424 การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายในตลาดต่างประเทศ 3(3-0-6)
BUSI 425 ธุรกิจที่พักแรม 3(3-0-6)
BUSI 426 การขนส่ง 3(3-0-6)
BUSI 427 การบริการอาหารและเครื่องดื่ม 3(3-0-6)
BUSI 428 การจัดการธุรกิจนำเที่ยว 3(3-0-6)
BUSI 429 ธุรกิจการจัดการประชุม 3(3-0-6)
2.2.3 กลุ่มวิชาโท
- นักศึกษาสามารถเลือกเรียนกลุ่มวิชาโทการเงินการธนาคาร ของสาขาวิชาการบัญชี ที่เปิดสอนในลักษณะการจัดการสอนร่วมกับผู้ประกอบการ
- นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในกลุ่มวิชาโทของสาขาวิชาอื่นๆที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต ตามประกาศของมหาวิทยาลัย
- นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาที่เทียบเท่าจากสถานประกอบการหรือสถาบันอื่นเพื่อเทียบโอนรายวิชาในกลุ่มวิชาโท ตามความเห็นชอบของมหาวิทยาลัย
3.หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
